- ผู้ติดตั้งจำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานในการใช้งานคำสั่งต่าง
ๆ บนระบบปฏิบัติการแบบ Linux รุ่น CentOS เวอร์ชั่น 7.2 แบบ 64 bit
- ระมัดระวังในการพิมพ์คำสั่ง ตัวสะกด เว้นวรรค ตัวอักษรพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่ต่าง ๆ ซึ่งมีผลต่อความถูกต้องสำหรับการทดสอบใช้งาน
- ระมัดระวังในการพิมพ์คำสั่ง ตัวสะกด เว้นวรรค ตัวอักษรพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่ต่าง ๆ ซึ่งมีผลต่อความถูกต้องสำหรับการทดสอบใช้งาน
1.
จัดเตรียมไฟล์ที่จำเป็นในการติดตั้งดังต่อไปนี้:
- ไฟล์โปรแกรม apache-ant-1.8.4-bin.tar.gz
- ไฟล์โปรแกรม apache-maven-3.0.4-bin.tar.gz
- ไฟล์โปรแกรม apache-tomcat-7.0.35.tar.gz
- ไฟล์โปรแกรม dspace-5.0-src-release.zip
- ไฟล์โปรแกรม jdk-7u79-linux-x64.rpm
(ควรเลือกเวอร์ชั่นแบบ 64 bit
ซึ่งตรงกับรุ่นของระบบปฏิบัติการที่ติดตั้ง กรณีเลือกแบบ 32 bit มาติดตั้งอาจเกิดปัญหาต่าง ๆ ได้)
- ไฟล์โปรแกรม postgresql-9.0.17-1-linux-x64.run
(ควรเลือกเวอร์ชั่นแบบ 64 bit
ซึ่งตรงกับรุ่นของระบบปฏิบัติการที่ติดตั้ง กรณีเลือกแบบ 32 bit มาติดตั้งอาจเกิดปัญหาต่าง ๆ ได้)
2. จัดเตรียมไฟล์ที่ดาวน์โหลดมาแล้วจาก internet โดยคัดลอกไว้ในไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ กรณีต้องการไปทำงานที่ไดเรกทอรีชื่อ opt ให้พิมพ์คำสั่ง cd /opt/
3. เมื่อทำงานอยู่ที่ไดเรกทอรีชื่อ opt แล้ว หากต้องการตรวจสอบรายชื่อไฟล์ที่อยู่ในไดเรกทอรี
2. จัดเตรียมไฟล์ที่ดาวน์โหลดมาแล้วจาก internet โดยคัดลอกไว้ในไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ กรณีต้องการไปทำงานที่ไดเรกทอรีชื่อ opt ให้พิมพ์คำสั่ง cd /opt/
3. เมื่อทำงานอยู่ที่ไดเรกทอรีชื่อ opt แล้ว หากต้องการตรวจสอบรายชื่อไฟล์ที่อยู่ในไดเรกทอรี
4. ทำการเปลี่ยนสิทธิ์ในการเข้าถึงไฟล์ ให้กับไฟล์ jdk-7u79-linux-x64.rpm โดยใช้คำสั่ง
chmod a+x jdk-7u79-linux-x64.rpm
5. ติดตั้งโปรแกรม ‘jdk-7u79..’ โดยใช้คำสั่ง sudo rpm –ivh jdk-7u79-linux-x64.rpm
8. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะถามถึงตำแหน่งที่ต้องการเก็บข้อมูลของฐานข้อมูล ซึ่งค่าปกติจะอยู่ที่
ไดเรกทอรี /opt/PostgreSQL/9.0/data หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม enter ผ่านไป
9. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะให้กำหนดรหัสผ่านสำหรับผู้ใช้ในระบบชื่อ postgres โดยให้ตั้งรหัสที่
ต้องการ (ต้องจำให้ได้) และใส่รหัสผ่านเดิมที่ตั้งไว้อีกครั้งเพื่อยืนยัน
10. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะถามถึงหมายเลข port เพื่อเชื่อมต่อมายังโปรแกรมฐานข้อมูล PostgreSQL ซึ่งค่า port ปกติคือ 5432 หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม enter ผ่านไป
11. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะถามถึงภาษาที่ต้องการเลือกใช้งาน โดยมีให้เลือกถึง 772 ลำดับ โดยค่าปกติจะอยู่ในลำดับที่ [1] คือ ภาษาอังกฤษ หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม enter ผ่านไป
12. ในลำดับสุดท้ายหากต้องการติดตั้งต่อให้พิมพ์ตัวอักษร ‘Y’ และกดปุ่ม enter
13. รอสักครู่ โปรแกรมจะทำการติดตั้งและแจ้งดำเนินการเสร็จเมื่อครบ 100 %
14. ขั้นตอนถัดมา ให้แก้ไขไฟล์ชื่อ pg_hba.conf ซึ่งอยู่ในไดเรกทอรี /opt/PostgreSQL/9.0/data
โดยใช้คำสั่ง
nano
/opt/PostgreSQL/9.0/data/pg_hba.conf (nano เป็นโปรแกรม text editor ตัว
หนึ่งที่ต้องติดตั้งต่างหาก กรณีไม่มีในเครื่อง
สามารถติดตั้งเพิ่มได้โดยใช้คำสั่ง yum install nano
แต่หากไม่ต้องการติดตั้งเพิ่ม สามารถใช้คำสั่ง ‘vi’ ซึ่งมีอยู่แล้วในระบบ
หรือคำสั่ง ‘gedit’ ก็เป็นโปรแกรมอีกตัวหนึ่งที่ต้องติดตั้งเพิ่มเติมหากต้องการใช้งาน)
15. ทำการ restart postgres service โดยใช้คำสั่ง
16. สร้างไฟล์ชื่อ ‘java.sh’ สำหรับตั้งค่าสภาพแวดล้อมการใช้งานต่าง ๆ ให้กับโปรแกรมที่ติดตั้ง
(Environment Variable) ให้สามารถเรียกใช้งานได้ โดยใช้คำสั่ง
ทำการบันทึกการตั้งค่าและออกจากโปรแกรม Text Editor
17. สั่งให้ไฟล์ java.sh มีผลต่อระบบและสามารถเรียกใช้งานได้ โดยใช้คำสั่ง
18. ติดตั้งโปรแกรม Apache Ant , โดยก่อนติดตั้ง สามารถตรวจสอบว่ามีโปรแกรมติดตั้งอยู่แล้วหรือไม่ โดยใช้คำสั่ง which ant
19. เปลี่ยนตำแหน่งไดเรกทอรีที่กำลังทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ โดยใช้คำสั่ง cd /opt
21. ที่ไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ ทำการแตกไฟล์โปรแกรม apache-maven โดยใช้คำสั่ง
tar –zxvf apache-maven-3.0.4-bin.tar.gz
22. แก้ไขไฟล์ชื่อ ‘java.sh’ เพื่อตั้งค่าสภาพแวดล้อมการทำงานต่าง ๆ เพิ่มเติม
ให้กับโปรแกรมที่ติดตั้ง โดยใช้คำสั่ง
ให้สามารถข้ามไปได้ ไม่ต้องพิมพ์ซ้ำ):
23. ทำการเปลี่ยนสิทธิ์ในการเข้าถึงไฟล์ ให้กับไฟล์ชื่อ ‘java.sh’ โดยใช้คำสั่ง
24. ตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมต่าง ๆ ภายหลังการตั้งค่าใช้งาน โดยใช้คำสั่ง
หากการตั้งค่าใช้งานมีความถูกต้อง โปรแกรมต่าง ๆ จะแสดงผลดังภาพด้านล่าง
25. ทดลองสั่ง start การทำงานของโปรแกรม tomcat server โดยเข้าไปยังไดเรกทอรี CATALINA_HOME/bin โดยใช้คำสั่ง
26. เตรียมติดตั้งโปรแกรม Dspace
ลำดับแรกให้สร้างกลุ่มชื่อ dspace ในระบบ linux โดยใช้คำสั่ง
27. เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘data’ โดยใช้คำสั่ง
chmod a+x jdk-7u79-linux-x64.rpm
5. ติดตั้งโปรแกรม ‘jdk-7u79..’ โดยใช้คำสั่ง sudo rpm –ivh jdk-7u79-linux-x64.rpm
# ค่าปกติของไดเรกทอรีที่ติดตั้ง
java คือ /usr/java/jdk1.7.0_79
6. ทำการเปลี่ยนสิทธิ์ในการเข้าถึงไฟล์
ให้กับไฟล์ postgresql โดยใช้คำสั่ง
chmod +x postgresql-9.0.17-1-linux-x64.run
7. ติดตั้งโปรแกรม
postgresql โดยใช้คำสั่ง
./postgresql-9.0.17-1-linux-x64.run
เมื่อ run
คำสั่งข้างต้นแล้ว โปรแกรมจะถามถึงตำแหน่งที่ต้องการติดตั้ง
ซึ่งค่าปกติจะอยู่ที่ไดเรกทอรี /opt/PostgreSQL/9.0 หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม
enter ผ่านไป
8. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะถามถึงตำแหน่งที่ต้องการเก็บข้อมูลของฐานข้อมูล ซึ่งค่าปกติจะอยู่ที่
ไดเรกทอรี /opt/PostgreSQL/9.0/data หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม enter ผ่านไป
9. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะให้กำหนดรหัสผ่านสำหรับผู้ใช้ในระบบชื่อ postgres โดยให้ตั้งรหัสที่
ต้องการ (ต้องจำให้ได้) และใส่รหัสผ่านเดิมที่ตั้งไว้อีกครั้งเพื่อยืนยัน
10. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะถามถึงหมายเลข port เพื่อเชื่อมต่อมายังโปรแกรมฐานข้อมูล PostgreSQL ซึ่งค่า port ปกติคือ 5432 หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม enter ผ่านไป
11. ในลำดับถัดมาโปรแกรมจะถามถึงภาษาที่ต้องการเลือกใช้งาน โดยมีให้เลือกถึง 772 ลำดับ โดยค่าปกติจะอยู่ในลำดับที่ [1] คือ ภาษาอังกฤษ หากไม่ต้องการเปลี่ยน ให้กดปุ่ม enter ผ่านไป
12. ในลำดับสุดท้ายหากต้องการติดตั้งต่อให้พิมพ์ตัวอักษร ‘Y’ และกดปุ่ม enter
13. รอสักครู่ โปรแกรมจะทำการติดตั้งและแจ้งดำเนินการเสร็จเมื่อครบ 100 %
14. ขั้นตอนถัดมา ให้แก้ไขไฟล์ชื่อ pg_hba.conf ซึ่งอยู่ในไดเรกทอรี /opt/PostgreSQL/9.0/data
โดยใช้คำสั่ง
หนึ่งที่ต้องติดตั้งต่างหาก กรณีไม่มีในเครื่อง
สามารถติดตั้งเพิ่มได้โดยใช้คำสั่ง yum install nano
แต่หากไม่ต้องการติดตั้งเพิ่ม สามารถใช้คำสั่ง ‘vi’ ซึ่งมีอยู่แล้วในระบบ
หรือคำสั่ง ‘gedit’ ก็เป็นโปรแกรมอีกตัวหนึ่งที่ต้องติดตั้งเพิ่มเติมหากต้องการใช้งาน)
เมื่อเปิดไฟล์แล้ว
ให้เพิ่มข้อความดังต่อไปนี้ ไว้ภายใต้หัวข้อ
# IPv4 local connections:
host all all 127.0.0.1/32 md5
host dspace dspace 127.0.0.1/32 md5
host dspace dspace 127.0.0.1/32 md5
(หมายถึง อนุญาตให้ผู้ใช้ชื่อ dspace สามารถเชื่อมต่อมายังฐานข้อมูลชื่อ dspace ในระบบ
ได้)
ได้)
ทำการบันทึกการตั้งค่าและออกจากโปรแกรม
Text Editor
15. ทำการ restart postgres service โดยใช้คำสั่ง
service postgresql-9.0 restart
16. สร้างไฟล์ชื่อ ‘java.sh’ สำหรับตั้งค่าสภาพแวดล้อมการใช้งานต่าง ๆ ให้กับโปรแกรมที่ติดตั้ง
(Environment Variable) ให้สามารถเรียกใช้งานได้ โดยใช้คำสั่ง
nano
/etc/profile.d/java.sh
ทำการเพิ่มข้อความดังต่อไปนี้:
PATH=/opt/PostgreSQL/9.0/bin:$JAVA_HOME/bin:$ANT_HOME/bin:
$MAVEN _HOME/bin:$PATH
ทำการบันทึกการตั้งค่าและออกจากโปรแกรม Text Editor
17. สั่งให้ไฟล์ java.sh มีผลต่อระบบและสามารถเรียกใช้งานได้ โดยใช้คำสั่ง
source
/etc/profile.d/java.sh
18. ติดตั้งโปรแกรม Apache Ant , โดยก่อนติดตั้ง สามารถตรวจสอบว่ามีโปรแกรมติดตั้งอยู่แล้วหรือไม่ โดยใช้คำสั่ง which ant
19. เปลี่ยนตำแหน่งไดเรกทอรีที่กำลังทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ โดยใช้คำสั่ง cd /opt
และทำการแตกไฟล์โปรแกรม
apache-ant
โดยใช้คำสั่ง
tar –zxvf apache-ant-1.8.4-bin.tar
20. ที่ไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ ทำการแตกไฟล์โปรแกรม apache-tomcat โดยใช้คำสั่ง tar –zxvf apache-tomcat-7.0.35.tar.gz
21. ที่ไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ ทำการแตกไฟล์โปรแกรม apache-maven โดยใช้คำสั่ง
tar –zxvf apache-maven-3.0.4-bin.tar.gz
22. แก้ไขไฟล์ชื่อ ‘java.sh’ เพื่อตั้งค่าสภาพแวดล้อมการทำงานต่าง ๆ เพิ่มเติม
ให้กับโปรแกรมที่ติดตั้ง โดยใช้คำสั่ง
nano
/etc/profile.d/java.sh
ทำการเพิ่มข้อความดังต่อไปนี้
(หากมีข้อความในบรรทัดใดอยู่แล้ว ให้สามารถข้ามไปได้ ไม่ต้องพิมพ์ซ้ำ):
JAVA_HOME=/usr/java/jdk1.7.0_79
ANT_HOME=/opt/apache-ant-1.8.4
CATALINA_HOME=/opt/apache-tomcat-7.0.35
MAVEN_HOME=/opt/apache-maven-3.0.4
PATH=/opt/PostgreSQL/9.0/bin:$JAVA_HOME/bin:$ANT_HOME/bin:
$MAVEN
_HOME/bin:$PATH
export
PATH JAVA_HOME ANT_HOME MAVEN_HOME
export CLASSPATH=.
ทำการบันทึกการตั้งค่าและออกจากโปรแกรม
Text
Editor
chmod +x /etc/profile.d/java.sh
และสั่งให้ไฟล์ java.sh มีผลต่อระบบและสามารถเรียกใช้งานได้ โดยใช้คำสั่ง
source /etc/profile.d/java.sh24. ตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมต่าง ๆ ภายหลังการตั้งค่าใช้งาน โดยใช้คำสั่ง
echo $JAVA_HOME (then press enter)
echo $CATALINA_HOME (then press enter)
ant –version (then press enter)
mvn –version (then press enter)
หากการตั้งค่าใช้งานมีความถูกต้อง โปรแกรมต่าง ๆ จะแสดงผลดังภาพด้านล่าง
25. ทดลองสั่ง start การทำงานของโปรแกรม tomcat server โดยเข้าไปยังไดเรกทอรี CATALINA_HOME/bin โดยใช้คำสั่ง
cd
$CATALINA_HOME/bin
(หากต้องการทราบตำแหน่งที่เรากำลังทำงานในปัจจุบัน
สามารถใช้คำสั่ง ‘pwd’ เพื่อตรวจสอบ)
ก่อนทำการ start
โปรแกรม tomcat สามารถใช้คำสั่ง ‘ls’
เพื่อตรวจสอบคำสั่งต่าง ๆ
ภายในโฟลเดอร์ชื่อ bin ที่สามารถเรียกใช้งานได้
โดยจะมีหลายคำสั่งให้เลือกใช้งาน
ภายใต้ไดเรกทอรี
/opt/apache-tomcat-7.0.35/bin
หากต้องการสั่ง start
ให้โปรแกรม tomcat server ทำงาน สามารถใช้คำสั่ง
./startup.sh
เมื่อ enter
แล้ว จะแสดงผลลัพธ์ดังภาพด้านล่าง
หากต้องการสั่ง stop
การทำงานของโปรแกรม tomcat server สามารถใช้คำสั่ง
./shutdown.sh
26. เตรียมติดตั้งโปรแกรม Dspace
ลำดับแรกให้สร้างกลุ่มชื่อ dspace ในระบบ linux โดยใช้คำสั่ง
groupadd
dspace (then press enter)
และสร้างผู้ใช้งานชื่อ dspace ในระบบ linux โดยใช้คำสั่ง
useradd dspace –g
dspace (then press enter)
27. เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘data’ โดยใช้คำสั่ง
cd
/opt/PostgreSQL/9.0/data
ทำการสร้างผู้ใช้งานชื่อ ‘dspace’ เพื่อใช้งานในฐานข้อมูล โดยใช้คำสั่ง
createuser
–U postgres –d –A –P dspace (then press
enter)
ทำการตั้งรหัสผ่านให้กับผู้ใช้งานชื่อ ‘dspace’ (ต้องจำให้ได้)
และตั้งรหัสผ่านอีกครั้งเพื่อยืนยัน
ลำดับถัดมาให้กดปุ่ม ‘y’ เพื่อยืนยันการสร้างชื่อผู้ใช้งาน
โปรแกรมจะถามรหัสผ่านของผู้ใช้ฐานข้อมูลชื่อ postgres
(ซึ่งเป็นรหัสผ่านเดียวกันกับที่ตั้งไว้ในข้อ
9. เมื่อตอนติดตั้งโปรแกรม postgreSQL)
28. สร้างฐานข้อมูลชื่อ ‘dspace’ โดยใช้คำสั่ง
29. เริ่มติดตั้งโปรแกรม โดยเปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ โดยใช้คำสั่ง
30. หากต้องการตรวจสอบไฟล์โปรแกรม dspace ที่แตกออกมาในโฟลเดอร์ชื่อ ‘opt’
ให้ใช้คำสั่ง ls -la
31. เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยัง root โดยใช้คำสั่ง cd /
32. เปลี่ยนชื่อผู้ใช้งานในระบบ linux จาก root เป็นชื่อ dspace โดยใช้คำสั่ง
su dspace
34. เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ
‘dspace-installer’
โดยใช้คำสั่ง
cd /opt/dspace-5.0-src-release/dspace/target/dspace-installer
โดยใช้คำสั่ง ls –la /dspace
มีขั้นตอนดังนี้
หากใส่รหัสผ่านไม่ถูกต้อง
!! โปรแกรมจะแสดงข้อความดังภาพด้านล่าง
28. สร้างฐานข้อมูลชื่อ ‘dspace’ โดยใช้คำสั่ง
createdb
–U dspace –E UNICODE dspace
เมื่อกด enter
แล้ว ให้ใส่รหัสผ่านของผู้ใช้งานฐานข้อมูลชื่อ dspace (ซึ่งเป็นรหัสผ่านเดียวกันกับ
ที่ตั้งไว้ในข้อ 27 ตอนสร้างผู้ใช้งานฐานข้อมูลชื่อ dspace)
ที่ตั้งไว้ในข้อ 27 ตอนสร้างผู้ใช้งานฐานข้อมูลชื่อ dspace)
29. เริ่มติดตั้งโปรแกรม โดยเปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’ โดยใช้คำสั่ง
cd /opt/
ทำการแตกไฟล์โปรแกรม
dspace ที่มีนามสกุล .zip โดยใช้คำสั่ง
unzip
dspace-5.0-src-release.zip (then press enter)
หากพบปัญหาขณะติดตั้งโดยมีข้อความแจ้งว่า: ‘-bash:
unzip: command not found’
จะหมายถึง
ไม่มีโปรแกรม unzip ในระบบ
ดังนั้นจำเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม unzip เพิ่มเติม
โดยใช้คำสั่ง
yum
install unzip (ให้ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอ ไปทีละขั้นตอน)
เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว ให้เรียกใช้คำสั่ง unzip อีกครั้ง ดังนี้
unzip
dspace-5.0-src-release.zip
30. หากต้องการตรวจสอบไฟล์โปรแกรม dspace ที่แตกออกมาในโฟลเดอร์ชื่อ ‘opt’
ให้ใช้คำสั่ง ls -la
31. เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยัง root โดยใช้คำสั่ง cd /
ทำการสร้างไดเรกทอรีใหม่ ชื่อ dspace
โดยใช้คำสั่ง
mkdir
dspace
ภายหลังการสร้าง
สามารถตรวจสอบรายชื่อโฟลเดอร์ที่สร้างใหม่ โดยใช้คำสั่ง ls –la
ซึ่งคำสั่งนี้จะแสดงชื่อผู้เป็นเจ้าของสิทธิ์ของโฟลเดอร์และไฟล์
สำหรับโฟลเดอร์ชื่อ dspace
ที่สร้างขึ้นใหม่ ผู้เป็นเจ้าของสิทธ์คือ root
ทำการเปลี่ยนสิทธิ์ให้กับโฟลเดอร์ชื่อ
dspace
โดยเปลี่ยนจาก root เป็นผู้ใช้งานชื่อ dspace
โดยใช้คำสั่ง
chown
dspace.dspace /dspace -R
ภายหลังการเปลี่ยน
สามารถตรวจสอบสิทธิ์ของโฟลเดอร์ชื่อ dspace ได้อีกครั้ง
โดยใช้คำสั่ง ls –la จะพบว่าถูกเปลี่ยนจาก root กลายเป็น
dspace
ถัดมาทำการเปลี่ยนสิทธิ์ให้กับโฟลเดอร์ชื่อ
dspace-5.0-src-release
โดยเปลี่ยนจาก root เป็นผู้ใช้งานชื่อ dspace โดยใช้คำสั่ง
chown dspace.dspace
/opt/dspace-5.0-src-release -R
32. เปลี่ยนชื่อผู้ใช้งานในระบบ linux จาก root เป็นชื่อ dspace โดยใช้คำสั่ง
su dspace
ก่อนเริ่มการติดตั้งให้แก้ไขไฟล์
config. ของโปรแกรม dspace ชื่อ dspace.cfg โดยใช้คำสั่ง
nano
/opt/dspace-5.0-src-release/dspace/config/dspace.cfg
แก้ไขบรรทัดที่มีข้อความด้านล่างนี้
dspace.dir =
${dspace.install.dir} (บรรทัดนี้ให้เปลี่ยนเป็น
remark
โดยพิมพ์ ‘#’ นำหน้าบรรทัด)
และพิมพ์ข้อความใหม่ในบรรทัดถัดไปดังนี้:
dspace.dir
= /dspace
บันทึกการตั้งค่าและออกจากโปรแกรม
text
editor
33. เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ
dspace
ใน ‘opt/ dspace-5.0-src-release’
โดยใช้คำสั่ง
cd /opt/dspace-5.0-src-release/dspace
เริ่มการติดตั้งโปรแกรม
dspace
โดยใช้คำสั่ง
mvn
package
จะเข้าสู่ขั้นตอนดาวน์โหลดโปรแกรม
dspace
เวอร์ชั่น 5.0 ผ่านทาง internet
(จากการทดสอบใช้เวลาประมาณ
40 นาที)
หากติดตั้งสำเร็จจะแสดงข้อความ ‘BUILD SUCCESS’
cd /opt/dspace-5.0-src-release/dspace/target/dspace-installer
ดำเนินการติดตั้งเพิ่มเติมโดยพิมพ์คำสั่ง
‘ant fresh_install’ (ใช้เวลาเพียง
1 นาที)
เมื่อติดตั้งสำเร็จจะแสดงข้อความ ‘BUILD
SUCCESSFUL’
35. ภายหลังการติดตั้งสำเร็จ
สามารถตรวจสอบข้อมูลที่ถูกติดตั้งในโฟลเดอร์ชื่อ ‘dspace’ ได้ โดยใช้คำสั่ง ls –la /dspace
จะแสดงข้อมูลของโฟลเดอร์และไฟล์ต่าง
ๆ ที่ถูกติดตั้งใหม่
มีสิทธ์การใช้งานเป็นของผู้ใช้งานชื่อ dspace
36. สร้างบัญชีผู้ดูแลระบบ
(Administrator) ของโปรแกรม dspace โดยใช้คำสั่ง
/dspace/bin/dspace
create-administrator
Type an E-mail address: : [พิมพ์ชื่อ e-mail
address] (และกดปุ่ม enter)
First name: [พิมพ์ชื่อที่ต้องการ] (และกดปุ่ม enter)
Last name: : [พิมพ์ชื่อที่ต้องการ] (และกดปุ่ม enter)
Password: : [พิมพ์รหัสผ่านที่ต้องการ] (และกดปุ่ม enter)
Again to confirm: : [ยืนยันรหัสผ่านอีกครั้ง] (และกดปุ่ม enter)
Is the above data correct: [พิมพ์ Y เพื่อยืนยันการสร้างข้อมูล]
37. ตั้งค่าตำแหน่งไดเรกทอรีของเว็บ
dspace ให้โปรแกรม Tomcat Server สามารถเรียกใช้งาน First name: [พิมพ์ชื่อที่ต้องการ] (และกดปุ่ม enter)
Last name: : [พิมพ์ชื่อที่ต้องการ] (และกดปุ่ม enter)
Password: : [พิมพ์รหัสผ่านที่ต้องการ] (และกดปุ่ม enter)
Again to confirm: : [ยืนยันรหัสผ่านอีกครั้ง] (และกดปุ่ม enter)
Is the above data correct: [พิมพ์ Y เพื่อยืนยันการสร้างข้อมูล]
มีขั้นตอนดังนี้
-
เปลี่ยนชื่อผู้ใช้งานระบบ
linux
จาก dspace เป็น root โดยพิมพ์คำสั่ง
cd / และพิมพ์คำสั่ง su แล้วพิมพ์รหัสผ่านของ root
-
เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปที่
‘localhost’ โดยพิมพ์คำสั่ง
cd /opt/apache-tomcat-7.0.35/conf/Catalina/localhost
-
สร้างไฟล์ 4 ไฟล์ ประกอบด้วยไฟล์ชื่อ
jspui.xml, xmlui.xml, oai.xml and solr.xml
ทำการสร้างทีละไฟล์
โดยพิมพ์คำสั่ง
nano jspui.xml
เพิ่มข้อความด้านล่างนี้ลงไปในไฟล์
jspui.xml
<Context path=“/jspui” docBase=“/dspace/webapps/jspui”
debug=“0”
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
แก้ไขเสร็จแล้ว
ให้สั่งบันทึกและออกจากโปรแกรม text editor
ถัดมาสร้างไฟล์ชื่อ xmlui.xml โดยพิมพ์คำสั่ง
nano xmlui.xml
เพิ่มข้อความด้านล่างนี้ลงไปในไฟล์
xmlui.xml
<Context
path=“/xmlui” docBase=“/dspace/webapps/xmlui” debug=“0”
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
แก้ไขเสร็จแล้ว ให้สั่งบันทึกและออกจากโปรแกรม
text
editor
ถัดมาสร้างไฟล์ชื่อ oai.xml
โดยพิมพ์คำสั่ง
nano oai.xml
เพิ่มข้อความด้านล่างนี้ลงไปในไฟล์
oai.xml
<Context
path=“/oai” docBase=“/dspace/webapps/oai” debug=“0”
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
แก้ไขเสร็จแล้ว ให้สั่งบันทึกและออกจากโปรแกรม text editor
ถัดมาสร้างไฟล์ชื่อ
solr.xml
โดยพิมพ์คำสั่ง
nano solr.xml
เพิ่มข้อความด้านล่างนี้ลงไปในไฟล์
solr.xml
<Context
path=“/solr” docBase=“/dspace/webapps/solr” debug=“0”
reloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
แก้ไขเสร็จแล้ว ให้สั่งบันทึกและออกจากโปรแกรม text editorreloadable=“true” cachingAllowed=“false” crosscontext=“true” />
38. ทำการเปลี่ยนสิทธิ์ในการเข้าถึงโฟลเดอร์และไฟล์ภายในโฟลเดอร์ชื่อ apache-tomcat-7.0.35
ทั้งนี้สามารถตรวจสอบสิทธิ์เดิมของโฟลเดอร์ดังกล่าว
ก่อนทำการเปลี่ยนแปลง โดยพิมพ์คำสั่ง
ls –la /opt/apache-tomcat-7.0.35
จะพบว่าสิทธิ์เดิมในการเข้าถึงโฟลเดอร์และไฟล์จะเป็นของผู้ใช้งานชื่อ ‘root’
ดำเนินการเปลี่ยนสิทธิ์ในการเข้าถึงโฟลเดอร์และไฟล์ภายในโฟลเดอร์ชื่อ
apache-tomcat-7.0.35 ดังนี้
- พิมพ์คำสั่ง cd /opt (เพื่อเปลี่ยนการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘opt’)
- เปลี่ยนสิทธิ์ของโฟลเดอร์และไฟล์ให้เป็นผู้ใช้งานชื่อ
‘dspace’
โดยพิมพ์คำสั่ง
chown dspace.dspace apache-tomcat-7.0.35/
-R
- ตรวจสอบสิทธิ์ของโฟลเดอร์และไฟล์อีกครั้ง ภายหลังการเปลี่ยนแปลง โดยพิมพ์คำสั่ง
ls –la /opt/apache-tomcat-7.0.35
จะพบว่าสิทธิ์ทั้งหมดถูกเปลี่ยนจากผู้ใช้งานชื่อ
‘root’ เป็น ‘dspace’
39. เปลี่ยนชื่อผู้ใช้งานจาก root เป็น dspace โดยพิมพ์คำสั่ง
su dspace
และเปลี่ยนตำแหน่งการทำงานจากไดเรกทอรีชื่อ
‘opt’
ไปที่ ‘$CATALINA_HOME/bin’
โดยพิมพ์คำสั่ง
cd
$CATALINA_HOME/bin
ทดลองสั่ง start
tomcat server โดยพิมพ์คำสั่ง
./startup.sh
(หลังจากสั่ง start
tomcat server ให้รอสักครู่ ไม่ถึง 1 นาที
เพื่อให้ tomcat
server เริ่มทำงาน)
40. ทดลองเปิดหน้าเวบ browser ด้วยโปรแกรม google Chrome
และพิมพ์ url ชื่อ‘http://localhost:8080/jspui/’
(หรือกรณีที่ทราบหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ติดตั้งโปรแกรม dspace
สามารถเปลี่ยนจากคำ ‘localhost’ เป็นหมายเลข ip address ได้ ตัวอย่างเช่น
‘http://
192.168.221.136:8080/jspui/’ )
ตัวอย่างด้านล่างเป็นหน้าเว็บแบบ
JSPUI ซึ่งมีข้อดีคือ หน้าเว็บเป็นแบบ responsive หมายถึงเมื่อมีการย่อ ขยายหน้าจอ หน้าเว็บจะมีการปรับเปลี่ยนขนาดโดยอัตโนมัติตามประเภทอุปกรณ์เช่น
หน้าจอคอมพิวเตอร์ หน้าจอโทรศัพท์มือถือ หน้าจอแทปเลต เป็นต้น
สำหรับโปรแกรม dspace
ยังมีหน้าเว็บให้เลือกใช้งานอีกรูปแบบหนึ่ง เรียกว่าแบบ ‘xmlui’
โดยเรียกหน้าเว็บไปที่ url ‘http://localhost:8080/xmlui/’ (หรือจะใส่เป็นหมายเลข IP
Address ของเครื่องที่ติดตั้งโปรแกรม dspace ตัวอย่างเช่น
‘http://192.168.221.136:8080/xmlui/’
)
ข้อจำกัดของหน้าเว็บแบบ
xmlui คือ ไม่รองรับ responsive แบบหน้าเว็บ JSPUI
41. การตั้งค่าให้โปรแกรม tomcat server ทำงานโดยอัตโนมัติ หากมีการ restart ระบบปฏิบัติการ
CentOS (แหล่งอ้างอิงข้อมูล:
http://www.mysamplecode.com/2012/05/automatically-start-tomcat-linux-centos.html)
- เปลี่ยนไดเรกทอรีการทำงานไปยังไดเรกทอรีชื่อ ‘init.d’
โดยพิมพ์คำสั่ง cd /etc/init.d
- สร้างไฟล์ใหม่ชื่อ tomcat7 เพื่อใช้เป็นชื่อสำหรับเรียก service ของโปรแกรม tomcat
ให้ทำงานโดยพิมพ์คำสั่ง nano tomcat7
คัดลอกข้อมูล (script) ด้านล่างนี้ไว้ในไฟล์ชื่อ ‘tomcat7’ (ซึ่งข้อมูลด้านล่าง
ควรปรับเปลี่ยนให้มีความสัมพันธ์กัน เหมาะสม สอดคล้องกับชื่อไฟล์
ตำแหน่งของไดเรกทอรี ที่ถูกติดตั้งก่อนหน้านี้)
#!/bin/bash
# chkconfig: 2345 80
20
# Description: Tomcat
Server basic start/shutdown script
# /etc/init.d/tomcat7
-- startup script for the Tomcat 7 servlet engine
TOMCAT_HOME=/opt/apache-tomcat-7.0.35/bin
START_TOMCAT=/opt/apache-tomcat-7.0.35/bin/startup.sh
STOP_TOMCAT=/opt/apache-tomcat-7.0.35/bin/shutdown.sh
start() {
echo -n "Starting tomcat7: "
cd $TOMCAT_HOME
${START_TOMCAT}
echo "done."
}
stop() {
echo -n "Shutting down tomcat7: "
cd $TOMCAT_HOME
${STOP_TOMCAT}
echo "done."
}
case "$1" in
start)
start
;;
stop)
stop
;;
restart)
stop
sleep 10
start
;;
*)
echo "Usage: $0
{start|stop|restart}"
esac
exit 0
บันทึกการตั้งค่า
และออกจากโปรแกรม text editor
-
ทำการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ในการเข้าถึงไฟล์ชื่อ
tomcat7
เพื่อให้ผู้ใช้ชื่อใดก็ได้
สามารถเรียกใช้งานได้ โดยพิมพ์คำสั่ง chmod 755 tomcat7
-
กรณีโปรแกรม
‘chkconfig’ ยังไม่ได้ถูกติดตั้งในระบบ
สามารถติดตั้งเพิ่มได้โดยพิมพ์คำสั่ง
yum install chkconfig (ให้ทำตามคำแนะนำบนหน้าจอตามลำดับ)
-
เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว
ให้เพิ่มไฟล์ service ชื่อ tomcat7 ไว้ในระบบ
โดยพิมพ์คำสั่ง chkconfig --add tomcat7
-
ทดลองตรวจสอบการเรียกใช้งานไฟล์
tomcat7
โดยพิมพ์คำสั่ง
find . –name “*tomcat7”
จะได้ผลลัพธ์กลับมาดังภาพด้านล่าง
-
ตรวจสอบสถานะการทำงานของไฟล์
service
ชื่อ ‘tomcat7’
ที่ถูกเพิ่มในระบบ
โดยพิมพ์คำสั่ง
chkconfig --list tomcat7
จะแสดงผลลัพธ์ของสถานะการทำงานไฟล์
service
ชื่อ tomcat7
ในโหมดการทำงานต่าง ๆ บนระบบ CentOS
ตามค่าที่กำหนดไว้
-
ทดลองสั่ง restart
ระบบปฏิบัติการ CentOS โดยพิมพ์คำสั่ง
shutdown –r now
เมื่อเข้าสู่ระบบอีกครั้ง
ให้ทดลองเรียกหน้าเว็บ dspace ตาม url ก่อนหน้านี้
จะพบว่า สามารถเรียกใช้งานหน้าเว็บได้ทันที
โดยไม่ต้องมาสั่ง start
tomcat server ด้วยตนเอง
-
หากต้องการหยุดการทำงานของโปรแกรม
tomcat
server ให้พิมพ์คำสั่ง
service tomcat7 stop
จะแสดงข้อความบนหน้าจอ..
Shutting down tomcat7:
และหากต้องการให้โปรแกรม tomcat
server ทำงานอีกครั้ง ให้พิมพ์คำสั่ง
service
tomcat7 startขอจบคำแนะนำการติดตั้งโปรแกรม Dspace ไว้เท่านี้ก่อนนะครับ
ครั้งถัดๆ ไป จะมาแนะนำในส่วนอื่น ๆ ต่อไปครับ
Keyword: install dspace 5 on windows, install dspace 5 ,ติดตั้ง dspace, install dspace, institutional repository, ir, คลังข้อมูล, คลังสารสนเทศ, คลังสถาบัน, คลังเอกสาร, ติดตั้ง dspace 5, ติดตั้งดีเสปซ, dspace 5 on windows, การใช้งาน dspace เบื้องต้น, คู่มือการใช้ dspace, dspace คู่มือ, โปรแกรม dspace, การติดตั้ง dspace, การติดตั้ง dspace 5, dspace installation on windows, dspace installation on centos, dspace installation step by step, dspace 5 installation, dspace 5.0 installation
No comments:
Post a Comment