Monday, February 1, 2016

Guidelines for the preparation of the Institutional Repository

Institutional Repository - IR 



What is Institutional Repository

    Institutional Repository could mean information archives, intellectual property, documents
that were gather within their institute or organization and converted into digitize format
i.e. Electronic Publication, Theses, Electronic books were included as a library of information resources that are stored as well.
    It is intended to store and maintain the vital resources of institutions or agencies in various categories including Academic Performance of Students, Staff, Faculty, Thesis Papers, Research Reports, Articles, Meeting documents and Seminars, Papers, Documents and Teaching Manual Operation, Multimedia (video / audio / image files), etc., and aimed to publish to users both inside and outside the institution / agency access and use of these resources. The right to access and permission to access the resource may vary according to the policies of institutions / agencies.


Conceptual of Institutional Repository

   Institutions / Organizations that wish to make archives institutions. Mainly aimed at harmonizing follows.
        -  In order to maintain a sustainable resources.
        -  Could access it anywhere, anytime, on-demand in the long term.
        -  Published and share the use of shared resources.


Exploration and resource studies at the store.

   The first thing you have to do before developing the institution's archives. It is planned operations, working as a team, the division of responsibility with the following guidelines
        -  explore to resources that will be stored and group of people who use the service.
        -  the storage resources should be no infringement of the institutions / organizations / individuals.
        -  Sorting and grouping of resources.
        -  Providing the space for the storage of information resources, including applications or systems consistent and adequate storage resources.
        -  Resources were adapted to store a form appropriate to the needs of the application or system. All informations are converted to a digitize format.
        -  Study of test data into the program or system resources.
        -  Test data input and retrieval of resources by registered user.
        -  Rectify errors in the application or system.
        -  Preparation of reports and records problems. Arising from its use.


Institutional Repository Hardware - Disk Usage

     Planned to provide disk spaces for Dspace software installation including the storage area for resources that will be converted  into  the digitize format should be consistent with the amount of resources that were explored. For example, the used of  disk spaces in the earlier version 1.7.2
of Dspace software.

  After the installation was completed. The program will be installed in the folder. -> c:\dspace
(in case of Windows Installation) will occupy at least about 500 MB for disk spaces.

   Dspace folder names  'dspace-1.7.2-src-release'  which installed on C: drive:  will occupy at least about  964 - 1000 MB
   Apache-maven-2.2.1  software will occupy at least about  3-4 MB
   Apache-ant-1.8.1  software will occupy at least about  38-45 MB
   Java (JDK 6 Update 22)  software which installed on c:\program files\java will occupy at least about 280-290 MB
   Tomcat 5.5  software which installed on c:\program files\apache software foundation\tomcat 5.5  will occupy at least about 200-250 MB
   PostgreSQL 8.4  software which installed on c:\program files\postgresql  will occupy at least about 300-350 MB

   So the disk usage only for installation of Dspace software version 1.7.2 needs about  500+1000+4+45+290+250+350 = 2439 MB (at least 2.5 GB) but you also need to plan for the provision of additional space to store the backup data exclude from Dspace sofware to be consistent with the amount of datas that was conducted in the exploration phase.
   Finally, in my opinion the appropriate size of total disk spaces is 50 GB which enough for first stage  of  trial.

For example, documents that were converted into electronic format of .pdf extension

Sample pdf file that is 1097 KB.
Consist of data 13 pages (with insert pictures about 5 pages)

Sample pdf file that is 781 KB.
Consist of data 11 pages (with insert pictures about 2 pages)

Sample pdf file that is 630 KB
Consist of data 9 pages (with insert pictures about 5 pages)

Sample pdf file that is 580 KB
Consist of data 12 pages (with insert pictures about 4 pages)

Sample pdf file that is 359 KB
Consist of data 6 pages (with insert pictures about 4 pages)

Sample pdf file that is 262 KB
Consist of data 25 pages (Only letters)

Sample pdf file that is 27 KB
Consist of data 1 page (Only letters about 27 lines)

In the example above, the size of file sizes will depend on
      -  Type of Informations (Letter / Image / Audio / Animate i.e. Video file).
The animate information is usually have larger file sizes than other kinds of information.
    -   The amount of stored data.

Institutional Repository Software
     Open Source - Free Software License as below :
     
 Dspace.org

           o  Dspace is a great program that allows users to download and install it for free. The most active is the number one worldwide. According to the website  http://maps.repository66.org/
                           Website of Downloading    http://www.dspace.org
                     Sample of Dspace Website (English Language)
                         •   https://www.repository.cam.ac.uk/
                         •   http://dspace.mit.edu/
                         •   http://bora.uib.no/
                           Sample of Dspace Website (Thai Language)
                         •   http://cuir.car.chula.ac.th/
                         •   http://dspace.library.tu.ac.th/
                         •   http://repository.li.mahidol.ac.th
                         •   http://dl.parliament.go.th/
                          Click to read more about the Dspace Guide & Installaion .


 eprints-software/

           o  Eprints is a program that allows users to download and install it for free as well, with a large number of users. Respectively, followed by the Dspace software.
                           Website of Downloading  http://www.eprints.org/uk/index.php/eprints-software/
                           Sample of Eprints Website (English Language)
                         •   http://libeprints.open.ac.uk/
                         •   http://eprints.soton.ac.uk/
                         •   http://eprints.rclis.org/
                          Eprints Guide & Installation
                         •   http://wiki.eprints.org/w/Installing_EPrints_3_via_apt_(Debian/Ubuntu)
                         •   http://wiki.eprints.org/w/Installing_EPrints_3_via_Redhat_RPM
            o Other Program i.e.  BEPress / ETD-db / Fedora / OPUS  Open Repository / Other repository (Reference:  http://maps.repository66.org/)

     Dspace and Eprints are many different advantages. But one thing in common is OAI-PMH Protocol (Open Archive Initiative-Protocol Metadata Harvesting). This can be exploited to extract or harvest information from other sources Metadata with OAI-PMH alike to make them easy to search at once. You can be searched to retrieve data from multiple sources simultaneously.

Benefits from the preparation of the Institutional Repository.

    - A storage resources have maintaining sustainable and more permanent
    - Access to resources anywhere, anytime, on-demand in the long term.
    - Resources are publishing and sharing together.
    - A knowledge management approach of institutions / agencies.
    - As a guide to measure academic quality of institutions / agencies.



Key: Institutional Repository, Hardware, Software, ติดตั้ง dspace, install dspace, Institutional Repository, ir, คลังข้อมูล, คลังสารสนเทศ, คลังสถาบัน, คลังเอกสาร

กระบวนการ / ลำดับขั้นตอนการนำข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมดีสเปซ (Dspace Workflow Steps)


จากกระบวนการในการนำเข้าข้อมูล อธิบายโดยย่อได้ดังนี้
     1.   เจ้าของผลงาน (Submitter) ส่งผลงานผ่านหน้าเว็บโปรแกรม Dspace
     2.   มีผู้ตรวจสอบผลงานในลำดับที่ 1 (Step 1) โดยสามารถยอมรับผลงานและตีกลับผลงานแจ้งไปยังเจ้าของผลงานได้ ถ้าข้อมูลถูกต้องจะส่งต่อไปตรวจสอบในลำดับที่ 2 (Step 2) ในลำดับนี้สามารถแก้ไขเมตาดาตาและสามารถยอมรับหรือตีกลับผลงานได้ และ 3 (Step 3) สามารถแก้ไขเมตาดาตาได้อย่างเดียว ไม่สามารถตีกลับผลงานได้
     3.   เมื่อข้อมูลถูกต้องครบถ้วนแล้ว ข้อมูลจะถูกนำเข้าสู่ระบบเพื่อจัดเก็บและสามารถสืบค้นได้
ในภายหลัง (Item Added to Archive)


บุคคลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการนำเข้าข้อมูลในระบบดีสเปซ (Dspace People) ในเบื้องต้น มีดังนี้
     1.   Dspace Administrator คือ ผู้ดูแลระบบหลัก มีสิทธิ์ในการจัดการ ปรับแต่ง แก้ไขค่าการใช้งาน โปรแกรมได้โดยทั้งหมด 
     2.   Community Administrator คือ ผู้ที่มีสิทธิ์ในการสร้าง ลบ และแก้ไขค่าการใช้งานของ Sub-community  รวมถึง Collection  ภายใต้ Community ที่ผู้ดูแลระบบหลักกำหนดสิทธิ์ให้สามารถจัดการได้
     3.   Collection Administrator คือ คือ ผู้ที่มีสิทธิ์ในการสร้าง ลบ และแก้ไขค่าการใช้งานของ Collection ภายใต้ Collection ที่ผู้ดูแลระบบหลักกำหนดสิทธิ์ให้สามารถจัดการได้
     4.   Submitter คือ ผู้ที่มีสิทธิ์ในการนำข้อมูลเข้าระบบได้เพียงอย่างเดียว แต่ไม่สามารถกลับไปแก้ไขข้อมูลได้ในภายหลัง เมื่อข้อมูลทำครบทุกขั้นตอนและเข้าสู่ระบบแล้ว
     5.   Accept / Reject คือ ผู้ที่ถูกกำหนดโดยผู้ดูแลระบบหลักให้มีสิทธิ์ในการแจ้งตอบรับ หรือปฏิเสธ เท่านั้น ในการส่งผลงานของ Submitter ที่ส่งเข้ามาในระบบ
     6.   Accept / Reject / Edit Metadata คือ ผู้ที่ถูกกำหนดโดยผู้ดูแลระบบหลักให้มีสิทธิ์ในการแจ้งตอบรับ หรือปฏิเสธ  รวมถึงสามารถแก้ไขข้อมูล ของ Submitter ที่ส่งเข้ามาในระบบ ได้
     7.   Edit Metadata คือ ผู้ที่ถูกกำหนดโดยผู้ดูแลระบบหลักให้มีสิทธิ์เฉพาะในการแก้ไขข้อมูล ของ Submitter ที่ส่งเข้ามาในระบบ

ตัวอย่างรูปแบบการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบคลังข้อมูลโปรแกรมดีสเปซ แบบที่ 1
(Example of Dspace Workflow - Format I)




การนำข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมดีสเปซในรูปแบบที่ 1 จะมีขั้นตอนพื้นฐานต่าง ๆ ดังนี้
     1. ผู้ใช้ทำการลงทะเบียนผ่านหน้าเว็บ (User registered on web)
     2. ผู้ดูแลระบบทำการกำหนดสิทธิ์ในการจัดการข้อมูลที่นำเข้าสู่โปรแกรมดีสเปซให้กับผู้ใช้แต่ละคน (Administrator assigned Dspace's right to each user)
     3. ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ในการนำข้อมูลเข้า (Submitter) ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ
     4. ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ในการอนุญาตให้ผลงานเผยแพร่เข้าสู่ระบบ  ทำการตอบกลับหรือปฏิเสธผลงานจาก Submitter
     5. ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ในการตอบกลับ ปฏิเสธ หรือแก้ไขผลงานของ Submitter ทำการตรวจสอบข้อมูลที่นำเข้าสู่โปรแกรมดีสเปซ ซึ่งถ้าไม่อนุญาต จะแจ้งกลับไปยัง Submitter แต่ถ้าอนุญาตให้เผยแพร่ ข้อมูลจะถูกส่งต่อไปยัง ผู้ตรวจสอบอีกคนที่ถูกกำหนดสิทธิ์ขึ้นมา ในลำดับถัดไป
     6. ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์แก้ไขข้อมูลของ Submitter ในระดับถัดมา ทำการตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลอีกครั้ง เมื่อตรวจสอบเสร็จเรียบร้อย และอนุญาตให้เผยแพร่  ข้อมูลของ Submitter ที่ส่งเข้าสู่ระบบ จะถูกเผยแพร่บนหน้าเว็บของดีสเปซ และสามารถสืบค้นข้อมูลได้

ตัวอย่างรูปแบบการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบคลังข้อมูลโปรแกรมดีสเปซ แบบที่ 2
(Example of Dspace Workflow - Format II)




Key: Dspace Workflow, Steps, กระบวนการ, ติดตั้ง dspace, install dspace, Institutional Repository, ir, คลังข้อมูล, คลังสารสนเทศ, คลังสถาบัน, คลังเอกสาร

ลักษณะการทำงานของโปรแกรมดีสเปซ (Dspace Diagram)

โปรแกรมดีสเปซมีการจัดเก็บข้อมูลแบบลำดับชั้น แบ่งโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล (Data Structure of Dspace) ได้ดังนี้
Community
        o Sub-community
                      Collection
                        • Item
                                o Metadata (Files-Bitstream)

จากรูปแบบโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลข้างต้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ ดังตัวอย่างเช่น
Faculty of Humanities
        o Department of Philosophy
                      Relevance and Relationalism
                        • Metadata (Files-Bitstream)

 ตัวอย่างการใช้งานในโครงสร้างรูปแบบอื่น  (Ref:  http://dspace.mit.edu/community-list)  เช่น
Department of Physics
        o Theses - Physics
                       Physics - Bachelor’s degree
                        •   Activity and kinematics of low mass stars
                                o    Metadata (Files-Bitstream)
                        •  Preheating in new Higgs inflation
                                o    Metadata (Files-Bitstream)
                       Physics - Master’s degree
                        •   Extreme optomechanically induced transparency
                                o    Metadata (Files-Bitstream)
                       Physics - Ph.D. / Sc.D.
                        •    Investigation on regulators in quantum electrodynamics
                                o    Metadata (Files-Bitstream)



Keyword: ติดตั้ง dspace, install dspace, Institutional Repository, ir, คลังข้อมูล, คลังสารสนเทศ, คลังสถาบัน, คลังเอกสาร

แนะนำโปรแกรมดีสเปซ (Dspace Guide)

       จากที่เคยเกริ่นไว้ก่อนหน้านี้ ทำให้ทราบว่ามีหลายโปรแกรมที่สามารถนำมาจัดทำคลังข้อมูลสถาบันได้  แต่ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างโปรแกรม Dspace เป็นลำดับแรก (สำหรับโปรแกรมอื่น ๆ หากมีโอกาส ผู้เขียนจะนำมาเล่าสู่กันฟังในหัวข้อลำดับถัดไปครับ)
โปรแกรม Dspace เป็นโปรแกรมประเภท Open Source (นำไปใช้งานได้ฟรีในระดับหนึ่ง หรือตามเงื่อนไข และข้อตกลงของผู้พัฒนาโปรแกรม  มีรูปแบบมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูล Metadata แบบ Dublin Core โดยกำหนดดัชนีต่าง ๆ ของข้อมูลเพื่อใช้ในการค้นหาเอกสารที่ถูกแปลงในรูปแบบของดิจิทัล)  ใช้สำหรับจัดทำคลังข้อมูลหรือคลังสารสนเทศเพื่อเก็บ ผลงานทางวิชาการของบุคลากร คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา วิทยานิพนธ์  บทความวิชาการ   บทความวิจัย   รายงานการวิจัย เอกสารการประชุม เอกสารการสัมมนา  เอกสารการสอน  หนังสือ  คู่มือปฏิบัติงาน   สื่อมัลติมีเดีย (ไฟล์วีดีโอ / ไฟล์เสียง / ไฟล์ภาพ) เป็นต้น  ที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรูปแบบการทำงานที่หลากหลาย ที่ช่วยจัดการเอกสารต่าง ๆ ได้แก่  การบันทึกและนำข้อมูลเข้าระบบผ่านแบบฟอร์มอัตโนมัติ การกำหนดผู้ดูแลระบบ ผู้นำเข้าข้อมูล ผู้ตรวจสอบ แก้ไขข้อมูล ให้กับ Metadata ของทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ การควบคุมการเข้าถึง ใช้งานทรัพยากรออนไลน์ การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศผ่านทางออนไลน์
กล่าวโดยสรุป โปรแกรม Dspace มีข้อดีหลายอย่าง เบื้องต้นดังนี้
          -   เป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ผลงานทางวิชาการของบุคลากร คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา วิทยานิพนธ์  บทความวิชาการ   บทความวิจัย   รายงานการวิจัย เอกสารการประชุม เอกสารการสัมมนา  เอกสารการสอน  หนังสือ  คู่มือปฏิบัติงาน   สื่อมัลติมีเดีย (ไฟล์วีดีโอ / ไฟล์เสียง / ไฟล์ภาพ เป็นต้น ซึ่งรวมอยู่ในแหล่งเดียวกัน ทำให้สะดวกต่อผู้ใช้บริการในค้นหา
          -   สามารถทำงานร่วมกับคลังข้อมูลประเภทอื่น ๆ ได้ (ศึกษาเพิ่มเติมในหัวข้อ OAI-PMH )
          -   สามารถเผยแพร่ผ่านทางระบบออนไลน์ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้งานได้ตลอดเวลา จากทุกสถานที่
          -   มีตัวช่วยสืบค้นข้อมูลทำให้สะดวกและง่ายต่อการค้นหา
          -   มีเลขเฉพาะในการกำกับข้อมูลของทรัพยากรแต่ละรายการ ทำให้สะดวกต่อการเข้าถึงทรัพยากรที่ต้องการ
          -   มีตัวช่วยจัดการที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดและแบ่งสิทธิในการดูแล จัดการข้อมูล (Metadata)
          -   มีความร่วมมือกับกูเกิล (Google) ซึ่งผู้ใช้กูเกิลสามารถสืบค้นมายังคลังข้อมูลของ Dspace ได้
          -   มีระบบการรักษาความปลอดภัย สามารถกำหนดชื่อ รหัสผ่าน และสิทธิ์ให้กับผู้ใช้งานในการเข้าใช้ระบบ

ข้อจำกัดในการใช้งาน ได้แก่
           -   เนื่องจากเป็นโปรแกรมประเภท open source ผู้ใช้งานจำเป็นต้องมีความรู้เฉพาะในหลายด้าน ได้แก่  ระบบปฏิบัติการที่เลือกใช้งาน การติดตั้งโปรแกรมต่าง ๆ ที่ทำงานร่วมกับ โปรแกรม Dspace และการปรับแต่งค่าการใช้งานของโปรแกรมทั้งก่อนและหลังการติดตั้ง  ซึ่งมีความยากในการแก้ไข

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรม Dspace (Researching about Dspace Software)
กุสลวัฒน์ คงประดิษฐ์. (๒๕๕๗). สถานภาพและปัญหาแพลตฟอร์ม DSpace ที่คลังหน่วยเก็บถาวร                  สถาบันในประเทศไทยใช้. ชลบุรี: ภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
         มหาวิทยาลัยบูรพา.
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/2559_070.pdf

ผู้เขียนได้มีโอกาสอ่านงานวิจัยชิ้นนี้ของท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์กุสลวัฒน์ คงประดิษฐ์
เห็นว่ามีประโยชน์เป็นอย่างยิ่งในการเริ่มต้น สำหรับผู้ที่ยังไม่มีความรู้ หรือไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร
หากต้องการจัดทำคลังของสถาบัน ซึ่งโปรแกรม Dspace คงเป็นตัวอย่างหนึ่งของกรณีศึกษา
ในงานวิจัยชิ้นนี้
       ท่านได้กล่าวถึงมุมมองในหลายๆ ด้าน ของการนำโปรแกรม Dspace มาใช้ในการจัดทำคลังหน่วยเก็บถาวรสถาบัน (Institutional Repository)
ทั้งนี้ท่านได้นำเสนอแนวทางปฏิบัติรวมถึงตัวอย่างการใช้งานไว้อย่างชัดเจน และมีความครบถ้วน

References:
http://www.stks.or.th/th/knowledge-bank/28/227.html
http://kmlibrary.bu.ac.th/index.php?view=article&id=161

Key: Dspace Guide, Dspace Installation, ติดตั้ง dspace, install dspace, Institutional Repository, ir, คลังข้อมูล, คลังสารสนเทศ, คลังสถาบัน, คลังเอกสาร

ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมถึงแนวทางในการจัดทำคลังสารสนเทศสถาบัน

คลังสารสนเทศสถาบัน – ดร.วัชรี เพ็ชรวงษ์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ)
     http://libarts.stou.ac.th/UploadedFile/7.Material.pdf  (ภาษาไทย)

คลังสารสนเทศสถาบัน: เครื่องมือการจัดการทุนทางปัญญาขององค์กร (Institutional Repositories: A Solution for Organizational Intellectual Capital Management) – รองศาสตราจารย์ ดร. กุลธิดา ท้วมสุข (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
     http://soctech.sut.ac.th/docs_qa/IR-Kulthida-Oct18-2011.ppt (ภาษาไทย)

IR ในประเทศอินเดีย
     http://www.nstda.or.th/nstda-plan/291-library-science/21240-ir-india

Dspace: ระบบคลังสารสนเทศดิจิทัล
     http://www.punsarn.asia/wp-content/uploads/2014/10/PUNSARN-Brochure-DSpace.pdf

การนำซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สมาใช้ในงานห้องสมุดดิจิทัล: ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างโปรแกรมดีสเปซ และ กรีนสโตน (USING OPEN SOURCE SOFTWARE FOR DIGITAL LIBRARY: A COMPARATIVE STUDY BETWEEN DSPACE AND GREENSTONE)
     http://www.tci-thaijo.org/index.php/jiskku/article/view/29553/25449

A Guide to Setting-Up an Institutional Repository
     http://www.carl-abrc.ca/en/scholarly-communications/carl-institutional-repository-program/a-guide-to-setting-up-an-institutional-repository.html

Institutional Repositories in the context of Digital Preservation by Paul Wheatley (University of Leeds)
     http://www.dpconline.org/index.php?option=com_docman&task=doc_download&gid=346


     http://www.slideshare.net/uekiv/dspace

Keyword: ติดตั้ง dspace, install dspace, Institutional Repository, ir, คลังข้อมูล, คลังสารสนเทศ, คลังสถาบัน, คลังเอกสาร